พิมเสน มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ สีขาว กลิ่นหอมเย็น พิมเสน ได้จากสารสังเคราะห์ซึ่งจะมีรสเผ็ดกัดลิ้นถ้าเป็นของแท้จากธรรมชาติจะไม่กัดลิ้นแต่จะทำให้เย็นปากคอ ประโยชน์ทางยา ใช้สูดดมแก้ลมวิงเวียน ทาภายนอกแก้เคล็ดขัดยอก
พิมเสน มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ สีขาว กลิ่นหอมเย็น พิมเสน ได้จากสารสังเคราะห์ซึ่งจะมีรสเผ็ดกัดลิ้นถ้าเป็นของแท้จากธรรมชาติจะไม่กัดลิ้นแต่จะทำให้เย็นปากคอ ประโยชน์ทางยา ใช้สูดดมแก้ลมวิงเวียน ทาภายนอกแก้เคล็ดขัดยอก แต่อาจเป็นอันตรายหากสูดดม เนื่องจากสารนี้ทำให้เกิดอาการระคายเคืองบริเวณทางเดินหายใจ นอกจากนี้สารนี้ยังมีฤทธิ์กระตุ้นและสงบระบบประสาทส่วนกลาง พิมเสน เป็นชื่อของต้นพืช มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pogostemon calslin (Blanco) Benth. ในวงศ์ Labiatae
ชื่อสินค้า | พิมเสน (Borneol flakes) ตรา ต้นสน | พิมเสน (Borneol flakes) ตรา HUNAN |
INCI name | Borneol | Borneol |
CAS number | 507-70-0 | 507-70-0 |
เกรดสินค้า | เครื่องสำอาง/ยา | ครื่องสำอาง/ยา |
แหล่งกำเนิด | จีน | จีน |
ลักษณะผลิตภัณฑ์ | เกล็ดละเอียดสีขาว | เกล็ดละเอียดสีขาว |
Borneol พิมเสน ได้จากการกลั่นใบและยอดอ่อนของหนาดด้วยไอน้ำ จะได้พิมเสนดกผลึกออกมา โดยทั่วไปแล้วพิมเสนแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ พิมเสนที่ได้จากธรรมชาติ และพิมเสนสังเคราะห์ ซึ่งพิมเสนทั้งสองชนิดจะมีการ ระเหยและติดไฟได้ง่าย สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์ ปิโตรเลียมอีเทอร์ และคลอโรฟอร์ม แต่จะไม่ละลายหรือละลายได้ ยากในน้ำ และมีจุดหลอมตัวของทางเคมีวิทยาอยู่ที่ 205-209 องศาเซลเซียส พิมเสนจะมีกลิ่นหอมเย็น รสหอม ฉุน เย็นปาก คอ ในสมัยก่อนจะใช้ใส่ในหมากพลูเคี้ยวพิมเสนธรรมชาติ หรือ พิมเสนแท้ คือ พิมเสนที่ได้มาจากการระเหิดของยางจากต้นไม้ ชนิดหนึ่งตามภาพด้านล่าง (ได้จากการกลั่นเนื้อไม้) ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dryobalanops aromatica Gaertn. จัดอยู่ในวงศ์ยางนา (DIPTEROCARPACEAE) (ภาษาจีนกลางเรียกว่า "หลงเหน่าเซียงสู้") ลักษณะของไม้ชนิดนี้เป็นไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ มีความสูงได้ถึง 70 เมตร มีกิ่งก้านสาขา ใบเป็นใบเดี่ยว ใบจะอยู่ที่ตอนบนของต้น ส่วนใบที่อยู่ดอนล่างจะออกตรง ข้าม ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ขอบใบเรียบ ใบอ่อนเป็นสีแดง ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งและตามซอกใบ ส่วนผลเป็นผลแห่งมี ปีก ภายในมีเมล็ด 1 เมล็ดโดยยางที่ได้จากการระเหิดจะมีลักษณะเป็นเกล็ดใส มีขนาดเล็ก เป็นรูปหกเหลี่ยม และเปราะแตกได้ ง่ายพิมเสนจะมีเนื้อแน่นกว่าการบูร ระเหิดได้ช้ากว่าการบูร ติดไฟให้แสงจ้าและมีควันมากแต่ไม่มีขี้เถ้า
ตำรายาแผนโบราณ : ใช้พิมเสนเป็นยาขับเหงื่อ ขับเสมหะ กระตุ้นการหายใจ กระตุ้นสมอง บ่ารุงหัวใจ ใช้เป็นยาระงับ ความกระวนกระวาย ทําให้ง่วงซึม แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด หัวใจอ่อน บ่ารุงหัวใจ ท่าให้ชุ่มขืน ท่าให้เรอ ขับผายลม แก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง แก้บาดแผลสด แผลเรื้อรัง แผลกามโรค แผลเนื้อร้าย ผสมในต่ารับยาหอม เช่น ยาหอมเทพจิตร ยาหอม นวโกฐ มีสรรพคุณโดยรวมคือแก้ลมวิงเวียน หน้ามืดตาลายน่ามาท่าเป็นยากิน แก้ปวดท้อง ท้องร่วง หรือใช้ขับลม ใช้ภายนอกเป็นผงใส่บาดแผล แก้แผลอักเสบ แก้กลากเกลื้อน และแผลฟกช่า นอกจากนั้น ยังใช้ปรุงเป็นน้ำหอม แต่งกลิ่นสบู่ ใช้ผสมน้ำอาบเพื่อระงับกลิ่นตัว และช่วยป้องกันแนลงมากัดเสื้อผ้า โบราณไป แต่งกลิ่นขี้ผึ้งสีปาก
วิธีผสม : ผสมในส่วนน้ำมัน
ปริมาณที่แนะนำ : 0.5-2%
การละลาย : ละลายนํ้ามัน และแอลกอฮอล์
การเก็บรักษา : เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท หลีกเลี่ยงแสงแดดและความร้อน